วันเสาร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

จริงใจหรือแค่พูดให้ดูดี - นายกฯลั่นห้ามขยายอุตสาหกรรมร้ายแรงมาบตาพุด

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีกล่าวตอนหนึ่งในการเป็นประธานเปิดงานและปาฐกถาในการสัมมนาหัวข้อ “ พลิกความท้าทายสู่โอกาสประเทศไทย 2554 ” ที่ ESAP Hall ศูนย์การประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนิน ซึ่งจัดโดยหนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ ในวาระครบรอบ 40 ปี บมจ.เนชั่นมัลติมีเดีย กรุ๊ป และก้าวสู่ปีที่ 24 นสพ.กรุงเทพธุรกิจว่า ความท้าทายเรื่องการจัดการสิ่งแวดล้อมนั้นเรื่องของมาบตาพุดทำให้เราเปลี่ยนเป็นโอกาสในการสร้างกติกาใหม่ในเรื่องอุตสาหกรรม ซึ่งจังหวัดระยองเป็นจังหวดที่มีกิจกรรมอุตสาหกรรมเยอะมาก แต่คนระยองไม่มีน้ำประปาใช้ ไม่มีมหาวิทยาลัย ไม่หลักประกันในเรื่องความปลอดภัยของสุขภาพ

ดังนั้นจึงต้องปรับปรุงในสิ่งที่คนระยองถูกเอารัดเอาเปรียบ รวมทั้งกติกาการอยู่ร่วมของอุตสาหกรรมกับชุมชนทั้งเรื่องแนวกันชน ระบบการติดตาม การไม่บังคับใช้กฎหมาย ที่สำคัญตนมีความคิดว่าจะห้ามขยายอุตสากรรมที่มีความร้ายแรงเด็ดขาด เพราะไม่เช่นนั้นจะไม่มีทางพัฒนาพื้นที่อื่นได้เลย

ทั้งนี้สิ่งที่สำคัญคือต้องสร้างความยอมรับในพื้นที่ก่อน การพัฒนาจะไม่พัฒนาก่อนแล้วตามแก้ทีหลัง ดังนั้นต้องวางกติกาก่อน และโดยหลักของการพัฒนาเศรษฐกิจเราไม่จำเป็นต้องมีทุกอุตสากรรมในประเทศไทย ซึ่งในที่ประชุมครม.เศรษฐกิจหรือกรอ.ตนจำไม่ได้ ซึ่งตนโดนต่อว่าทำไม่รัฐบาลไม่ทำอุตสากรรมนั้นอุตสหากรรมนี้ แต่ตนบอกว่าไม่มีประเทศไหนมีทุกอุตสาหกรรมไม่เช่นนั้นจะมีการค้าขายทำไม

วันพุธที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ความมักง่ายบกพร่องอย่างกว้างขวางและทำเป็นระบบ เลิกใส่ใจถามไปเลย เรื่อง CSR กับภาคอุตสาหกรรมมักง่าย

ความมักง่ายบกพร่องอย่างกว้างขวางและทำเป็นระบบ เลิกใส่ใจถามไปเลย เรื่อง CSR กับภาคอุตสาหกรรมมักง่าย

แค่เพียงสำนึกง่ายๆ โรงงานเสี่ยงมากมาย ที่มีอยู่วันนี้ จะไม่มีโอกาสเกิดขึ้น แต่เพราะความเห็นแก่ได้ เห็นแก่ตัว ปัญหาจึงสุดเยียวยาแก้ไข ขนาดรัฐบาลยังไม่กล้าแตะ กลัวกระทบเศรษฐกิจ แต่ทิ้งความเสี่ยงมหาศาลให้ชาวบ้านผู้บริสุทธิ์ และคิดต่อไปว่า จะไม่มีเหตุร้าย ที่คาดไม่ถึงเกิดขึ้นอีก

ขณะนี้ คนทั่วโลกกำลังให้ความใส่ใจและตระหนักถึงหายนะภัยจากภาคอุตสาหกรรมน้ำมันและก๊าซ นักการเมืองในหลายประเทศ เริ่มปรับปรุงกฎหมายที่จะควบคุมการดำเนินการต่างๆ ให้มีความปลอดภัยสูงขึ้น เพราะความมักง่ายประมาท สร้างผลกระทบร้ายแรงต่อสรรพชีวิตและสภาวะแวดล้อม การควบคุมที่สูงขึ้นอาจจะทำให้เกิดรายจ่าย จากผลกำไรมหาศาลของธุรกิจน้ำมันและก๊าซ ควรจะลดกำไรลงเพื่อสร้างความแข็งแรงปลอดภัยในการดำเนินการต่างๆ เพราะเวลาเกิดปัญหาขึ้นแล้วไม่สามารถควบคุมและชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ เช่นการรั่วไหลของ แท่นเจาะ BP ในอ่าวเม็กซิโก, แท่นเจาะของ ปตท. ในทะเลติมอร์, การระเบิดของท่อส่งน้ำมันในจีน ล้วนสร้างปัญหาใหญ่หลวง

แต่บัดนี้รัฐบาลไทย โดยนายอภิสิทธิ์ ที่ขาดต่อมสำนึกด้านความปลอดภัย เฉยชาที่จะตรวจสอบ การดำเนินการกับโครงสร้างพื้นฐาน รากฐานที่จะต้องทำให้แข็งแรงมั่นคง เพื่อรองรับระบบต่างๆ ของโรงงานก๊าซไวไฟขนาดใหญ่ ที่มีคลังก๊าซไวไฟจำนวนมหาศาล มากกว่าที่เคยระเบิดในเม็กซิโกเมื่อปี 1984 ถึง 7 เท่า และกำลังจะดันทุรังเปิดใช้โรงงานเหล่านี้ แม้ได้รับการท้วงติงซ้ำๆ ถึงความไม่ปลอดภัยในการใช้ฐานรากที่ไม่ตอกเสาเข็ม อ้างว่าดินปรับถมใหม่นั้น บดอัดแล้วจนแข็งแรงมาก ดินสามารถรับน้ำหนักมากกว่าบริเวณใกล้เคียง ถึง 3 เท่า ถ้าโรงงานนี้ไม่ได้อยู่ติดตลาดอยู่ใกล้ชุมชน ทั้งยังมีโรงงานสารเคมีอันตรายรายล้อมจำนวนมาก เรื่องนี้จะไม่น่ากังวลมากเลย แต่วันนี้ รายแสนชีวิตจะได้รับผลกระทบร้ายแรง เพียงการทรุดเพียงเล็กน้อยของโครงสร้างสำคัญต่างๆ ที่จะทำให้ระบบท่อแตกเสียหาย ก๊าซไวไฟรั่วไม่สามารถควบคุมได้ การระเบิดลุกลามของก๊าซแอลพีจีไปยังคลังก๊าซขนาดใหญ่ มีความเป็นไปได้สูง ความเฉยชาของรัฐบาลไทย ที่จะตรวจสอบ-ซ่อมเสริมให้แข็งแรง ทิ้งความเสี่ยงมหาศาลให้ผู้คน และสภาวะแวดล้อม เรื่องราวนี้ได้ส่งไปยัง เจโทร-กรุงเทพ ( ) ซึ่งมีอิทธิพลในด้านการลงทุนของญี่ปุ่นในประเทศไทย แต่ทำได้แค่หวังว่ารัฐบาลไทยจะดำเนินการอย่างเหมาะสมเท่านั้น

การรับรู้ถึงเหตุหายนะภัยต่อสภาวะแวดล้อม ของออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย ซึ่งเราได้อ่าน ข้อท้วงติงที่เข้มแข็งของท่าน ผ่านสื่อมวลชนต่างๆ เราคิดว่าท่านสามารถช่วยเราได้ ถ้าท่านสามารถนำเรื่องราวด้านบน มาท้วงติงประกอบ ท่านอาจได้ช่วยกระตุ้นต่อมสำนึกของรัฐบาลไทย และช่วยชีวิตประชาชนผู้บริสุทธิ์จำนวนมาก ให้หลุดพ้นความเสี่ยงต่อมหันตภัยที่อาจจะเกิดขึ้น

ทำไมผู้บริหารต้องสนใจ CSR แล้วพูดให้ดูดี และเน้นโฆษณาสร้างภาพ

ในหนังสือการสร้างสังคมน่าอยู่กับการทำธุรกิจและสิ่งแวดล้อม "ผู้บริหารไทยใส่ใจชุมชนและสิ่งแวดล้อม" ที่จัดทำโดยกรมโรงงานอุตสาหกรรม เครือปูน ซิเมนต์ไทย และสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย ที่น่าจะเป็นหนังสือเกี่ยวกับเรื่อง CSR ที่มีเพียงจำนวนไม่มากนักในไทย โจทย์ที่หนังสือตั้งไว้น่าสนใจโดยเฉพาะในประเด็นว่า "ทำไมผู้บริหารต้องสนใจเรื่อง CSR"

เพราะ CSR หรือความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจกลายเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งของประเทศพัฒนาแล้วนำมาใช้เป็นเงื่อนไขในการทำ

การค้ากับประเทศต่างๆ องค์กรหลายแห่งนำเรื่อง CSR มาเป็นประเด็นสื่อสารทางการตลาด บางองค์กรยังนำเรื่อง CSR มาเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี ดังนั้นหากธุรกิจยังไม่ปรับตัวท้ายที่สุดอาจถูกปฏิเสธการร่วมทำธุรกิจด้านต่างๆ ทั้งด้านการค้าและการลงทุน

ในปี 2542 นายโคฟี่ อันนัน เลขาธิการ องค์การสหประชาชาติ เรียกร้องให้องค์กรธุรกิจทั่วประเทศแสดงความเป็นพลเมืองที่ดีของโลก (good global citizenship) โดยเสนอบัญญัติ ที่ชื่อ The UN Global Compact และมีองค์กรธุรกิจเป็นสมาชิกในปัจจุบัน 1,861 องค์กร เป็นองค์กรในไทย 13 บริษัทจากธุรกิจในประเทศกว่า 1,600,000 ราย กระแสนี้เริ่มเข้มข้นและจริงจังขึ้นในโลกมาตั้งแต่ปี 2543 โดยเฉพาะยุโรปที่เสมือนตัวขับเคลื่อนสำคัญผ่าน "แนวปฏิบัติสำหรับบรรษัทข้ามชาติ" (Guildlines for MNE"s-Revision 2000) ซึ่งเสนอให้บรรษัทข้ามชาติมี CSR มากกว่านั้นยังเสนอให้บรรษัทข้ามชาติติดต่อค้าขายกับบริษัทที่มี CSR เท่านั้น

ในอดีตที่มักมุ่งเน้นความเป็นเลิศในเชิงธุรกิจด้วยการแข่งขันด้านราคาโดย "ลดต้นทุนและเพิ่มผลกำไร" เป็นหลัก

แต่เมื่อผู้บริโภคเปลี่ยนไปหันมาให้ความสำคัญในเรื่องคุณภาพและภาพลักษณ์ของสินค้าในเชิงสังคมและสิ่งแวดล้อม ธุรกิจจึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องให้ความสำคัญถึงภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร เพื่อให้ผู้บริโภคสนใจและต้องการซื้อสินค้า ความรู้สึกไว้วางใจอาจส่งผลไปถึงความวางใจในผลิตภัณฑ์อื่นของบริษัทที่ส่งผลให้องค์กรมียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นและมีส่วนแบ่งการตลาดที่มั่นคง

การรับผิดชอบต่อสังคมจึงเป็นมิติหนึ่งในการกระตุ้นให้ภาคธุรกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ในหนังสือยังยกกรณีศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศที่แสดงให้เห็นว่า การทำธุรกิจโดยขาดความรับผิดชอบนั้นส่งผลต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกประเทศ ต่อสุขภาพ ความเจ็บปวด และความสูญเสียนานัปการ รวมถึงกรณีพิพาทระหว่างประเทศในหลายกรณี เช่น คดี Trail Smelter ที่บริษัทในแคนาดาดำเนินกิจการถลุงแร่ตะกั่วและสังกะสีห่างจากชายแดนสหรัฐ 10 ไมล์ และก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศกลายเป็นกรณีพิพาทระหว่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดาที่ศาลอนุญาโตตุลาการสั่งให้แคนาดาชดใช้ค่าเสียหาย หรือกรณีในไทยเช่นกรณีการปนเปื้อนสารตะกั่วในลำห้วยคลิตี้ ที่โรงแต่งแร่ปล่อยน้ำเสียลงสู่ลำห้วยและพบว่าประชาชนที่ใช้น้ำมีระดับตะกั่วในเลือดสูง ปัจจุบันยังมีหมู่บ้านที่ต้องเฝ้าระวังจำนวน 8 หมู่บ้าน

เมื่อความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมต้องทำจากภายใน สิ่งที่องค์กรทำได้ เช่น การลดพลังงาน ประหยัดน้ำ ฯลฯ ซึ่งไม่เพียงแต่สังคมและสิ่งแวดล้อมได้ ท้ายที่สุดองค์กรได้รับผลนั้นเช่นกัน

มีการหยิกยกตัวอย่างที่น่าสนใจมาเปรียบเทียบให้เห็น อาทิ การลดการใช้ไฟฟ้าโดย การปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ของบริษัท ซี.พี.เซเว่น อีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) ที่เปลี่ยนหลอดไฟในเซ่เว่นฯ 30 สาขาเป็นหลอดผอม ใช้บัลลาสต์ อิเล็กทรอนิกส์ บำรุงรักษาแอร์อย่างมีประสิทธิภาพ จากเดือนกันยายน 2547-พฤษภาคม 2548 สามารถลดค่าใช้จ่ายได้ถึง 90 ล้านบาท หรือกรณีของ "บุญรอดบริวเวอรี่" นำสิ่งที่ได้จากระบบบำบัดน้ำเสียแบบ UASB มาใช้ผลิตก๊าซมีเทนซึ่งใช้ทดแทนน้ำมันเตา และสามารถลดค่าใช้จ่ายด้านเชื้อเพลิง 14 ล้านบาทต่อปี

นี่เป็นตัวอย่างบางส่วนที่ทำให้เห็นว่า เพราะเหตุใดจึงถึงเวลาที่ "ผู้บริหาร" จะต้องหันมาให้ความใส่ใจเรื่อง CSR เสียที !!

หน้า 52

ที่มา : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ

ภาพดีๆ ที่ชอบวาดกัน สร้างภาพกัน แต่ไร้จิตสำนึกที่แท้จริง

อุบัติเหตุ - ความมักง่าย หรือ แก้ปัญหาไม่ได้ ยามมีเหตุ ของ ภาคทุนอุตสาหกรรม แบบ ปตท.

ปตท. รู้มากันตั้งนาน ยังปล่อยให้ไฟไหม้ระเบิด
รายงานการสอบสวนของรัฐบาลออสเตรเลียชี้ชัด “PTTEP Australasia” (พีทีทีอีพี )บริษัทลูกของ ปตท.สผ.ที่ได้รับสัมปทานให้ทำการขุดเจาะแหล่งมอนทารา ดำเนินงานด้วย “ความบกพร่องอย่างกว้างขวางและอย่างเป็นระบบ” จึงเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุน้ำมันรั่วไหลลงสู่ทะเลครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ จึงเสนอทบทวนถอนใบอนุญาต ด้าน บิ๊ก ปตท.สผ.มั่นใจออสเตรเลียให้พีทีทีอีพี เอเอพัฒนาแหล่งมอนทาราต่อไป รอลุ้นผลสรุปจากคณะทำงานอิสระรายงานตรงรัฐมนตรีออสซี่เพื่อชี้ขาด


รายงานการสอบสวนของรัฐบาลออสเตรเลียชี้ชัดว่า บริษัทลูกของ ปตท.สผ.ที่ได้รับสัมปทานให้ทำการขุดเจาะน้ำมันในบริเวณนอกชายฝั่งทางตอนเหนือของแดนจิงโจ้ ดำเนินงานด้วย “ความบกพร่องอย่างกว้างขวางและอย่างเป็นระบบ” จึงเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุน้ำมันรั่วไหลลงสู่ทะเลครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของออสเตรเลีย ทั้งนี้ มาร์ติน เฟอร์กูสัน รัฐมนตรีทรัพยากรแดนจิงโจ้ แถลงต่อรัฐสภาเมื่อวานนี้(24)

พีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย (PTTEP Australasia) กิจการในเครือของบริษัท ปตท สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (ปตท.สผ.) หรือ PTTEP เป็นผู้ดำเนินการขุดเจาะน้ำมันในแหล่ง “มอนทารา ” ซึ่งตั้งอยู่ในทะเลติมอร์ ณ บริเวณนอกชายฝั่งทางตอนเหนือของออสเตรเลีย โดยเขตน่านน้ำดังกล่าวยังมีความบริสุทธิ์ตามธรรมชาติเป็นอย่างมาก และรัฐมนตรีเฟอร์กูสันบอกกับรัฐสภาออสเตรเลียว่า รายงานการสอบสวนของรัฐบาลแดนจิงโจ้พบว่า พีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย บกพร่องล้มเหลวไม่ได้มีการดำเนินงานตามหลักแห่งการประพฤติปฏิบัติที่ “สมเหตุสมผล”

“ความบกพร่องอย่างกว้างขวางและอย่างเป็นระบบในกระบวนวิธีดำเนินงานของ พีทีทีอีที ออสตราเลเชีย คือสาเหตุโดยตรงที่ทำให้การควบคุมที่ดีต้องขาดหายไป” เฟอร์กูสันบอก “การประพฤติปฏิบัติอันอยู่ภายใต้การควบคุมที่ดี ซึ่งได้รับการอนุมัติจากหน่วยงานกำกับตรวจสอบแล้วนั้น เป็นสิ่งที่เพียงพอป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียการควบคุมที่ดี อย่างไรก็ตาม พีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย ไม่ได้ยึดมั่นอยู่กับการประพฤติปฏิบัติเหล่านี้ หรือกระทั่งอยู่กับมาตรฐานแห่งการก่อสร้างที่ดีของบริษัทเอง”

นอกจากนั้นรายงานยังได้แนะนำรัฐบาลให้พิจารณาทบทวนเรื่องการออกใบอนุญาตให้บริษัทแห่งนี้ขุดเจาะน้ำมันที่แหล่งมอนตารา และกล่าวว่าถ้าหากไม่ถอนใบอนุญาต รัฐบาลก็ควรต้องแสดงเหตุผลว่าทำไมสิทธิของพีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย ที่จะดำเนินงานในดินแดนของออสเตรเลีย จึงไม่บังควรที่จะถูกเพิกถอน อีกทั้งรายงานยังเรียกร้องให้พิจารณาทบทวนการทำงานของกรมทรัพยากรแห่งนอร์เทิร์นแทร์ริทอรีด้วย

อย่างไรก็ดี เฟอร์กูสันบอกว่า เป็นไปไม่ได้ที่ออสเตรเลียจะไม่ให้นักลงทุนภายนอกเข้ามาในอุตสาหกรรมทรัพยากรของออสเตรเลีย โดยที่ในปัจจุบันทรัพยากรของแดนจิงโจ้กำลังเป็นที่ต้องการของตลาดโลกอย่างแข็งแกร่ง สืบเนื่องจากการเติบโตของเศรษฐกิจในเอเชีย

ทั้งนี้ พีทีทีอีพี ออสตราเลเชีย ซึ่งต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการทำความสะอาดน้ำมันที่ไหลทะลักออกมาคราวนี้ ยังกำลังถูกตามจี้เรียกค่าเสียหายจากอินโดนีเซีย ที่ระบุว่าคราบน้ำมันที่รั่วไหลได้แผ่ไปจนถึงชายฝั่งของแดนอิเหนาด้วย

เหตุร้ายที่แหล่งน้ำมันมมอนตาราคราวนี้ เกิดขึ้นภายหลังเกิดการระเบิดบนฐานขุดเจาะน้ำมันกลางทะเล “เวสต์ แอตลาส” ในวันที่ 21 สิงหาคม 2009 ทำให้ต้องมีการเร่งอพยพคนงานออกไป ขณะที่มีน้ำมันดิบไหลทะลักลงทะเลอยู่เรื่อยๆได้มีความพยายามหลายอย่างหลายประการเพื่อควบคุมน้ำมันที่กระจายตัวออกไป ทว่าไม่ประสบผล จวบจนกระทั่งถึงวันที่ 3 พฤศจิกายนจึงสามารถอุดรอยรั่วได้สำเร็จ

นายอนนต์ สิริแสงทักษิณ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บมจ. ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม (ปตท.สผ.) เปิดเผยว่า พีทีทีอีพี เอเอ ได้เสนอแผนการปรับปรุงแก้ไขประสิทธิภาพในการทำงาน ให้แก่รัฐบาลออสเตรเลีย หลังจากสิ้นสุดการสอบสวนและได้ดำเนินการตามแผนการปรับปรุงแก้ไขนี้มาอย่างต่อเนื่อง โดยได้นำเสนอผลความคืบหน้าต่อรัฐบาลออสเตรเลียเป็นระยะๆ มาโดยตลอด

สำหรับ แผนการปรับปรุงแก้ไขนี้ได้รับคำชมเชยจากหัวหน้าคณะสอบสวนว่าเป็นแผนที่มีความสมบูรณ์และน่าชื่นชม ครอบคลุมจุดอ่อนของการปฏิบัติงานที่คณะกรรมการสอบสวนได้ระบุไว้อย่างครบถ้วน โดยต่อไปต้องรอผลสรุปจากคณะทำงานอิสระรายงานตรงรัฐมนตรีออสซี่เพื่อชี้ขาดเรื่องดังกล่าว
นายอนนต์ กล่าวว่า บริษัทมีความมั่นใจว่า พีทีทีอีพี เอเอ จะสามารถพัฒนาแหล่งมอนทาราต่อเนื่องได้ โดยไม่น่ามีผลทำให้ต้องถูกทบทวนเพิกถอนใบอนุญาตในการพัฒนาแหล่งมอนทารา เพราะที่ผ่านมาได้มีการปรับปรุงแก้ไขประสิทธิภาพในการทำงานมาโดยตลอดเกือบ 12 เดือนแล้ว และได้นำเสนอผลความคืบหน้าต่อรัฐบาลออสเตรเลียเป็นระยะๆ ซึ่งผลการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุงแก้ไขนี้ จะสามารถสร้างความมั่นใจให้แก่รัฐบาลออสเตรเลียได้

โดย ขณะนี้บริษัทฯยังคงปฏิบัติงานเพื่อดำเนินการปรับเปลี่ยนแท่นเจาะสำรวจมอนทาราที่เสียหายจากไฟไหม้ต่อไป คาดว่าแหล่งมอนทาราจะผลิตน้ำมันดิบเชิงพาณิชย์ได้ในครึ่งหลังปี 2554 ประมาณ 3-.35 หมื่นบาร์เรล/วัน
วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

โรงงานสารเคมีในจีน ระเบิด 21 พ.ย. 53



ปักกิ่ง 21 พ.ย. – สำนักข่าวซินหัวของทางการจีน รายงานอ้างเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นวันนี้ว่า เกิดเหตุโรงงานสารเคมีระเบิดในภาคเหนือของจีน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 4 คน และได้รับบาดเจ็บ 37 คน

สำนักข่าวซินหัว ระบุอ้างแถลงการณ์ของรัฐบาลท้องถิ่นว่า เหตุระเบิดเกิดขึ้นในคืนวันเสาร์ที่โรงงานเคมียู่ซี เมืองจิ้นซง มณฑลซานซี ทางเหนือของประเทศ ส่วนสาเหตุของการระเบิดยังอยู่ในระหว่างการสืบสวน และว่านักดับเพลิงทำงานตลอดทั้งคืนเพื่อควบคุมเพลิง

โรงงานแห่งนี้ผลิตสารเคมีหลากหลายประเภทตั้งแต่ สารปรุงแต่ง อาหารทั่วไป จนถึงสารเคมีซับซ้อนที่ใช้ในการผลิตพลาสติกและกระดาษ รัฐบาลจีนระบุว่า ในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ มีผู้เสียชีวิตเฉลี่ย 187 คน จากอุบัติเหตุที่เกี่ยวข้องกับการทำงานในแต่ละวัน.- สำนักข่าวไทย

The blast occurred Saturday night in the city of Jinzhong, in northern Shanxi province, at the Yushe Chemical Co, the official Xinhua news agency reported, citing a provincial government statement.

The cause of the explosion was still under investigation, the report said, adding that firefighters had worked into the early hours of Sunday to put out the fire caused by the blast.

The factory produced an array of chemicals ranging from common food additives to compounds used in making plastics and paper, according to the company website.

Two of the injured were in serious condition, the report said.

In China, considered one of the world's most dangerous places to work, an average of 187 people were killed in work-related accidents on each day in the first half of this year, the government has said.

Plant fire put out after 14 hours

By Lan Tian and Wang Huazhong (China Daily)
Updated: 2010-11-22 07:37

YUSHE, Shanxi - Rescuers on Sunday managed to put out a massive fire triggered by an explosion at a chemical plant in Shanxi province's largest chlor-alkali production base that killed four workers and injured 37 others on Saturday.

It took more than 100 firefighters a marathon 14 hours to put out the fire, which completely gutted the four-story Yushe Chemical Engineering Company plant, where some 2,700 people are employed, in the province's Yushe county.

The company's factories have been sealed off for the police "to investigate the cause of the incident", police told China Daily on Sunday.

The explosion that occurred at 7:10 pm on Saturday left three workers dead on the scene while the body of the fourth victim was recovered on Sunday morning.

Ren Li, 26, who was working in an adjacent plant, said: "It was like an earthquake. There was a big bang. I ran out of the plant immediately even though my legs were hurt because of the broken glass."

The local government said, of the 37 workers hospitalized, 34 were wounded by broken glass.

As of midday on Sunday, most of the injured workers had been discharged from hospital.

Hao Xiaohu, a doctor at the county hospital, said three of the injured were still lodged in the intensive care unit.

Residents of Nanxiangyang village, a stone's throw from the plant, said they fled their homes following the explosion fearing more blasts and the presence of toxic gas.

"I was lucky I didn't get hurt," said 47-year-old Lian Xinglong, whose roof was dented due to the intensity of the explosion.

"But as you can see, my house is not safe to live in now. I'm thinking of moving into my daughter's house."

The county government on Sunday reiterated on its website that "the provincial environment bureau has found no substance exceeding (intolerable) standards in the air of the factory zone, and the factory has not discharged waste water after the blast".

Footage from the China Central Television showed thick fume rising up from the fire, with the broadcaster saying it was coming out of "a broken chlorine pipe".

The latest government announcement added, "No polyvinyl chloride (PVC, a plastic product) was detected in the air of neighboring villages. Water quality of the local Zhanghe River runs up to the standards and the environment is basically not affected."

Zhang Bo, a police official with the county's public security bureau, said that villagers living nearby returned home after an environmental assessment proved the area was safe to live in.

However, Liu Zili, a senior consultant from Golder Associates, a global company providing consulting services in the areas of geotechnics and the environment, said a conclusion has yet to be summarized based on comprehensive monitoring of the emission density in the affected area.

"Indeed, chlorine is toxic to respiratory tracts for a few days. However, it would have an enduring effect when it contacts soil and water to form an organic compound containing chlorine, which is normally carcinogenic."

YUSHE, Shanxi -- ผู้ปฏิบัติการในวันอาทิตย์ที่มีการจัดการที่จะนำออกจากเพลิงไหม้ขนาดใหญ่ที่เกิดจากการระเบิดที่โรงงานเคมีในฐานการผลิตที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด Shanxi คลอ - ด่างที่ฆ่าสี่คนงานและได้รับบาดเจ็บ 37 คนอื่น ๆ ในวันเสาร์ที่

มันใช้เวลากว่า 100 ดับเพลิงมาราธอน 14 ชั่วโมงในการดับไฟที่สมบูรณ์ gutted สี่ชั้น Yushe โรงงานวิศวกรรมเคมี บริษัท ที่บาง 2,700 คนมีงานในเขตจังหวัดของ Yushe

โรงงานของ บริษัท ฯ ได้รับการปิดผนึกสำหรับตำรวจ"เพื่อตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น"ตำรวจบอกจีนรายวันในวันอาทิตย์ที่

การระเบิดที่เกิดขึ้นที่ 7:10 ในวันเสาร์ที่เหลือสามคนที่ตายในฉากขณะที่ร่างกายของเหยื่อที่สี่ที่กู้คืนได้ในวันอาทิตย์ตอนเช้า

Ren Li, 26, ผู้ที่ทำงานในโรงงานที่อยู่ติดกันกล่าวว่า"มันเป็นเหมือนแผ่นดินไหวเกิดปังใหญ่ผมขับรถออกจากโรงงานได้ทันทีถึงแม้ว่าขาของฉันได้เจ็บเพราะกระจกแตก..."

รัฐบาลท้องถิ่นกล่าวว่าการรักษาในโรงพยาบาลคนงาน 37, 34 ได้รับบาดเจ็บจากกระจกแตก

ณ เที่ยงวันในวันอาทิตย์ที่พนักงานส่วนใหญ่ได้รับบาดเจ็บถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล

เฮา Xiaohu, คุณหมอที่โรงพยาบาลมณฑลกล่าวว่าทั้งสามได้รับบาดเจ็บถูกยื่นในหอผู้ป่วยยังคงเข้มข้น

ที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน Nanxiangyang, หินของโยนจากพืช, กล่าวว่าพวกเขาหนีไปบ้านของพวกเขาต่อไปนี้การระเบิด blasts หวาดกลัวมากขึ้นและมีอยู่ของก๊าซพิษ

"ผมโชคดีฉันไม่ได้รับบาดเจ็บ,"47 ปี Lian Xinglong ซึ่งมีหลังคาเป็นเว้าแหว่งเนื่องจากความรุนแรงของการระเบิดดังกล่าว

"แต่เท่าที่คุณสามารถเห็นบ้านของฉันไม่ปลอดภัยที่จะอยู่ในตอนนี้. ฉันคิดว่าในการเคลื่อนย้ายเข้าไปในบ้านของลูกสาวของฉัน."

รัฐบาลเขตเมื่อวันอาทิตย์ที่ย้ำในเว็บไซต์ว่า"สำนักสิ่งแวดล้อมจังหวัดพบสารเกินมาตรฐาน (มากเกินไป) ในอากาศของโซนโรงงานไม่และโรงงานยังไม่ปล่อยน้ำเสียหลังการระเบิด"

ฟุตเทจจากสถานีโทรทัศน์กลางของจีนมีความหนาเพิ่มขึ้นจากควันไฟที่มีผู้ประกาศข่าวบอกเป็นออกมาจาก"ท่อคลอรีนแตก"

ล่าสุดรัฐบาลประกาศเพิ่ม"โพลีไวนิลคลอไรด์ไม่ (พีวีซี, ผลิตภัณฑ์พลาสติก) ถูกตรวจพบในอากาศของหมู่บ้านใกล้เคียง. คุณภาพน้ำในแม่น้ำ Zhanghe ท้องถิ่นทำงานได้ถึงมาตรฐานและสภาพแวดล้อมโดยทั่วไปไม่ได้รับผลกระทบ.

Zhang Bo, เจ้าพนักงานตำรวจกับสำนักรักษาความปลอดภัยของประชาชนมณฑลกล่าวว่าชาวบ้านอาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกลับบ้านหลังจากการประเมินสิ่งแวดล้อมพื้นที่พิสูจน์ได้ปลอดภัยที่จะอยู่สิ่งต่อไปนี้

อย่างไรก็ตามหลิว Zili ซึ่งเป็นที่ปรึกษาระดับอาวุโสจาก Golder Associates, บริษัท ระดับโลกที่ให้บริการให้คำปรึกษาในด้านการ geotechnics และสิ่งแวดล้อมกล่าวว่าข้อสรุปยังไม่ได้สรุปขึ้นอยู่กับการตรวจสอบที่ครอบคลุมของความหนาแน่นของการปล่อยก๊าซในพื้นที่ได้รับผลกระทบ

"แท้จริงคลอรีนเป็นพิษต่อระบบทางเดินหายใจผืนสองสามวัน. แต่มันจะมีผลยั่งยืนเมื่อดินและน้ำที่ติดต่อในรูปแบบสารอินทรีย์ที่มีคลอรีนซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งได้ตามปกติ."

วันศุกร์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

เหมืองระเบิด เทคโนโลยี่ ดีแค่ไหน ก้อระเบิดได้

ภาพถ่ายทางอากาศบริเวณเหมืองไปค์ริเวอร์ที่เกิดเหตุระเบิด


เอเอฟพี - คนงานเหมืองถ่านหินจำนวน 36 คนหายสาบสูญ หลังเหตุระเบิดภายในเหมืองใต้ดิน ทางชายฝั่งตะวันตกอันห่างไกลบนเกาะใต้ของนิวซีแลนด์วันนี้ (19) นำมาซึ่งปฏิบัติการช่วยเหลือครั้งสำคัญ เจ้าหน้าที่แถลง

ที่ตั้งของเหมืองไปค์ริเวอร์ ทางตะวันตกของเกาะใต้ นิวซีแลนด์
เหตุระเบิดครั้งนี้เกิดขึ้นที่เหมืองถ่านหินไปค์ริเวอร์ บนชายฝั่งทางตะวันตกของเกาะใต้ เมื่อเวลาประมาณ 16.30 น. (ตามเวลาท้องถิ่น) โดยมีคนงานเหมือง 2 คนสามารถรอดชีวิตออกมาได้ แต่เจ้าหน้าที่ยังไม่สามารถติดต่อกับผู้เคราะห์ร้ายที่เหลือทั้งหมดได้ ผู้บริหารบริษัทเหมืองแก่แห่งนี้ระบุ

ตำรวจนิวซีแลนด์ แถลงว่า ทีมกู้ภัยผู้เชี่ยวชาญด้านเหมืองแร่กำลังอยูในถึงที่เกิดเหตุ และกำลังประเมินสถานการณ์ รวมถึงวิธีเข้าไปยังพื้นที่ระเบิดซึ่งอยู่ใต้ดิน คนงานเหมืองทั้งหมดเพิ่งเริ่มทำงานกะบ่ายได้ประมาณ 1 ชั่วโมงก่อนการระเบิด

"มีคนงานติดอยู่ใต้เหมือวอีก 36 คน และเรายังไม่สามารถติดต่อพวกเขาได้" โฆษกตำรวจนิวซีแลนด์กล่าว

ปีเตอร์ วิตทอลล์ ผู้บริหารบริษัทไปค์ริเวอร์โคล ปฏิเสธรายงานที่ระบุว่ามีการนำศพผู้เสียชีวิตออกมาได้แล้ว 1 ราย เหมืองดังกล่าวตั้งอยู่ใจกลางพื้นที่อุตสหกรรมเหมืองแร่ของนิวซีแลนด์ ประมาณ 50 กิโลเมตรทางตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองเกรย์เมาธ์

"ผมยังไม่ได้รับรายงานอะไรทั้งนั้น" เขาให้สัมภาษณ์กับสถานีโทรทัศน์ทีวี3 "ตอนนี้ เราได้ตัวคนงาน 2 คนที่หนีรอดออกมาได้ พวกเขากำลังคุยกับเจ้าหน้าที่ และรับการพยาบาลอยู่บนพื้นดินแล้ว"

"เรายังไม่สามารถติดต่อใครที่ติดอยู่ใต้ดินได้ในตอนนี้"

เหมืองดังกล่าว ซึ่งเปิดกิจการเดินหน้าการผลิตเมื่อปีที่แล้ว มีอุโมงค์ทางเข้ายาว 2.4 กิโลเมตร ลอดผ่านอยู่ใต้ภูเขาปาปารัว ในชั้นถ่านหิน

เจ้าหน้าที่ตำรวจแถลง ว่า แรงระเบิดทำให้ระบบไฟฟ้าหยุดทำงาน สร้างความยากลำบากในการช่วยเหลือ ในพื้นที่ห่างไกลมากยิ่งขึ้น

รถพยาบาล เฮลิคอปเตอร์ฉุกเฉิน และเจ้าหน้าที่หน่วยกู้ภัย พร้อมอยู่บนพื้นที่ เตรียมให้การพยาบาลคนงานที่ได้รับบาดเจ็บ

เกอร์รี บราวน์ลี รัฐมนตรีการเหมืองแร่ของนิวซีแลนด์ ระบุว่า รัฐบาลพร้อมทุ่มทรัพยากรทุกอย่าง เพื่อช่วยชีวิตคนงานเหมืองออกมาให้ได้

"สิ่งแรกที่ต้องทำ คือ การช่วยให้คนงานเหมืองทั้งออกมาให้ได้ก่อน" เขากล่าว "ผมรู้สึกเห็นใจครอบครัวของพวกเขา มันเป็นสถานการณ์ที่เลวร้ายมาก"

รัฐมนตรีบราวน์ลี กล่าวว่า เหมืองแห่งนี้ออกแบบมาให้มีการระบายอากาศที่ดี ดังนั้นน่าจะช่วยเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของคนงานกลุ่มนี้ได้มาก

อย่างไรก็ตาม ทางเว็บไซต์ stuff.co.nz รายงาน ว่า เหมืองดังกล่าวต้องเลื่อนการเปิดดำเนินการผลิตเมื่อปีที่แล้ว เนื่องจากมีปัญหาหลายประการ ซึ่งรวมทั้งการถล่มของช่องระบายอากาศด้วย

ทางชายฝั่งตะวันตกของเกาะใต้ เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมเหมืองแร่ของนิวซีแลนด์ บนเกาะแห่งนี้เคยเกิดโศกนาฏกรรมเหมืองครั้งเลวร้ายเมื่อปี 1896 ครั้งนั้นเกิดเหตุระเบิดใต้ดิน ในเหมืองบรุนเนอร์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 65 ราย

เหมืองไปค์ริเวอร์แห่งนี้ผลิตถ่านหินโค้ก ซึ่งใช้ในอุตสาหกรรมเหล็ก และได้ส่งออกผลผลิตครั้งแรกไปยังอินเดียจำนวน 20,000 ตัน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมา


วันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ทุกที่มีมาตรฐานสูง ลงทุนสูงมาก ใช้เทคโนโลยี่สูงมาก แต่ก้อทรุดพัง ทำสภาวะแวดล้อม-หายนะ



ทุกที่มีมาตรฐานสูง ลงทุนสูงมาก ใช้เทคโนโลยี่สูงมาก
แต่เวลาเกิดปัญหา สร้างเหตุหายนะ ต่อสภาวะแวดล้อมใหญ่หลวง

เพราะแข็งแรงไม่เพียงพอ หรือ ธรรมชาติหาความแน่นอนอะไรไม่ได้

Deadliest Accidents

Incident Fatalities
Piper Alpha 1. Piper Alpha
Occidental's Piper Alpha platform was destroyed by explosion and fire in 1988. 167 workers were killed in the blaze.
167
Alexander L. Kielland 2. Alexander L. Kielland
In 1980, the accommodation rig Alexander L. Kielland capsized during a storm after a leg support brace failed.
123
Seacrest Drillship 3. Seacrest Drillship
The Seacrest drillship capsized in 1989 during Typhoon Gay, with the loss of 91 crew.
91
Ocean Ranger 4. Ocean Ranger
A ballast control malfunction caused the Ocean Ranger to capsize during a ferocious storm in the North Atlantic in 1982, with the loss of all hands.
84
Glomar Java Sea Drillship 5. Glomar Java Sea Drillship
Another storm fatality, the Glomar Java Sea capsized and sank during Typhoon Lex in 1983 with the loss of all on board.
81
Bohai 2 6. Bohai 2
In 1979, the jack-up Bohai 2 capsized and sank in a storm while on tow off the coast of China.
72
Brent Field Helicopter 7. Brent Field Chinook Helicopter
A Chinook helicopter shuttle between the Brent Field and Sumburgh crashed into the North Sea in 1986 with only two survivors.
45
Enchova Central 8. Enchova Central
During a blowout on the Enchova Central off Brazil, 42 workers lost their lives attempting to evacuate the platform.
42
9- C. P. Baker Drilling Barge
Built in 1962 using an uncommon catamaran design, the C. P. Baker drilling barge burned and sank after a shallow gas blowout.
22
Mumbai High North 9- Mumbai (Bombay) High North
A support vessel collided with Mumbai High North in 2005, rupturing a riser and causing a major fire that destroyed the platform.
22
Usumacinta blowout 9- Usumacinta
Storm winds caused the Usumacinta jack-up to strike the adjacent Kab-101 platform, resulting in a fatal evacuation and blowout in 2007.
22

Source:

Various sources

Collapse

Incident Fatalities
Alexander L. Kielland Alexander L. Kielland
In 1980, the semi-submersible accommodation rig Alexander L. Kielland capsized during a storm after a leg support brace failed.
123
Al Mariyah Al Mariyah
Whilst skidding the rig cantilever, the jack-up Al Mariyah collapsed and lost its derrick onto the platform below.
4
Maersk Victory Maersk Victory
A punch-through caused extensive damage to the Maersk Victory while working in Australian waters in 1996.
0
Ocean Prince Ocean Prince
The UK-built semi-sub Ocean Prince, finder of the first UK offshore oil, broke up off England's east coast during a storm in 1967.
0
Parker 14-J Parker 14-J Drilling Barge
Failure of the jacking mechanism caused the Parker rig to collapse in 2003.
0
Ranger I Ranger I
After being jacked up on location in 1979, the rig Ranger I collapsed due to fatigue in the stern leg.
8
Sea Gem Sea Gem
One of the first drilling rigs in the North Sea, the Sea Gem collapsed in 1965 as a result of metal fatigue.
13
Transocean 3
A rare self-elevating semi-submersible, the Transocean III capsized and sank East of Orkney after a jackable leg broke away in 1974.
0


Alexander L. Kielland was a Norwegian semi-submersible drilling rig that capsized whilst working in the Ekofisk oil field in March 1980 killing 123 people.

The capsize was the worst disaster in Norwegian waters since World War II. The rig, located approximately 320 km east from Dundee, Scotland, was owned by the Stavanger Drilling Company of Norway and was on hire to the U.S. company Phillips Petroleum at the time of the disaster. The rig was named after the Norwegian writerAlexander Lange Kielland.

The rig was built as a mobile drilling unit at a French shipyard, and delivered to Stavanger Drilling in July 1976. The floating drill rig was not however used for drilling purposes but served as a semi-submersible 'flotel' providing living quarters for offshore workers. By 1978 additional accommodation blocks had been added to the platform, so that up to 386 persons could be accommodated.[1]

In 1980 the platform was working in the Norwegian north sea providing offshore accommodation for the production platform Edda 2/7C.

Contents

[hide]
Alexander L Kielland and Edda 2-7C NOMF-02663-1-650.jpg

Fractures on the right side of the rig


Part of the bracing that failed during the accident. On display in the Norwegian Petroleum Museum.

Alexander L. Kielland

Rig:

Alexander L. Kielland Semi-Sub

Date:

27 March 1980

Location:

Ekofisk Field, Norwegian Continental Shelf

Operator:

Phillips Petroleum

Fatalities:

123

Summary

The Alexander L. Kielland was a Pentagon-type semi-submersible and, in 1980, was located in the Ekofisk Field for Phillips Petroleum. It was supporting the Edda rig, acting as a so-called flotel (a floating hotel) for workers who travelled between the two rigs via a bridge, although this bridge had been raised prior to the accident due to gale force conditions. Around 1830 hours on 27 March 1980, one of the main horizontal braces supporting one of the five legs failed. The failure of the brace was attributed to a fracture which had developed around a hole in which a hydrophone, used to aid the positioning of the rig, had been installed. After the failure of the first brace, the remaining five braces attached to the leg failed in quick succession causing the leg to break off. The rig almost immediately listed to one side at an angle of 35 degrees, partially submerging the main deck and accommodation block.

The initial collapse occurred within a minute but the Kielland remained floating for another 14 minutes or so after the initial failure. During this time, a number of attempts were made to launch lifeboats, with only two of the seven lifeboats launched successfully. Three of the lifeboats were smashed against the rig's legs as result of the storm winds and waves whilst being lowered, leading to a number of casualties. After around 15 minutes, as water flowed into another two of the rig's legs, the last anchor wire parted and the rig rolled over completely with only the undersides of its legs visible above the surface.

There were 212 men aboard: 123 perished and only 89 survived the accident. On top of the high winds and waves, the men also faced near freezing waters with little protection. While some men did manage to swim to the Edda Platform to save themselves, others were swept away by 10m waves and strong currents as they attempted to reach rescue boats or other rigs.

Attempts were made to right the rig in 1980 but were abandoned due to the rig's dangerous state. In 1983, the rig was successfully righted and investigated before being towed to Nedstrand Fjord, where the remains of the rig were deliberately sunk. While the official investigation concluded that the leg bracing broke as a result of fatigue in a weld, later evidence was put forward indicating that the rig had been deliberately sabotaged with explosives. No new official inquiry was undertaken but the sabotage theory can be read in detail at the F.A.L.K. website.


วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ศูนย์เตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ'ไร้ประสิทธิภาพ - เก็บไว้อ่าน

- พบต้นต่อวิกฤตน้ำท่วมทั่วประเทศเกิดจาก 'ศูนย์เตือนภัยพิบัติ แห่งชาติ'ไร้ประสิทธิภาพ
- มีการฉ้อฉลในการจัดซื้ออุปกรณ์เตือนภัย แถมนักการเมืองยึดอำนาจจัดคนตัวเองนั่งแทนมืออาชีพ
- ทั้งหมดเป็นต้นเหตุให้ไม่สามารถป้องกันได้ จนเศรษฐกิจชาติพัง
- เผยระบบป้องกันน้ำในกทม.ดีเยี่ยม ทั้งที่ทุกฝ่ายฟันธง 'กทม.จมบาดาล'แน่
- ขณะที่ปี 54 ประเทศไทยเตรียมรับปรากฎการณ์ 'นีโญ-นีญา' ที่ทำให้แล้งซ้ำซากและฝนหนักถึงขั้นวิกฤตอีกครั้งหนึ่ง …..

ยังคงยืดเยื้อแบบไม่มีกำหนด สำหรับวิกฤตการณ์ภัยพิบัติน้ำท่วมหลายภาคของประเทศครั้งใหญ่สุดในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมา ก่อให้เกิดความเสียหาย ผลกระทบทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งล่าสุดมีผู้เสียชีวิตแล้วกว่า 185 คน บ้านเรือน ห้างร้าน พื้นที่นา ไร่จมอยู่ในน้ำเป็นเวลาหลายสัปดาห์ประเมินมูลค่าความเสียหายเบื้องต้นราว 32,000 -54,000 ล้านบาท ล่าสุดสถานการณ์วันนี้ (10 พฤศจิกายน )กว่า 30 จังหวัดวิกฤตน้ำท่วมยังคงประสบอุทกภัยไม่คลี่คลาย

อีกทั้งหลายจังหวัดทางภาคใต้กำลังเผชิญกับวิกฤตน้ำท่วมอีกหลายจังหวัด อันเนื่องมาจากฝนตกหนัก พายุพัดผ่านไม่มีทีท่าจะยุติลงเร็ววัน ขณะเดียวกันข้อมูลจากหน่วยงานวิชาการด้านภัยพิบัติหลายสำนักได้ออกมาเตือนอีกรอบว่า ภัยพิบัติน้ำท่วมยังคงกลับมาอีกครั้งในขณะนี้ต่อเนื่องถึงปีหน้า กลายเป็นประเด็นคำถามต่อภาครัฐบาล หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และประชาชนก็จะดำเนินการเตรียมการ ป้องกัน รับมือกับภัยพิบัติน้ำท่วมที่ถือเกิดขึ้นซ้ำซากบ่อยครั้งๆในประเทศกันอย่างไร เพื่อลดระดับผลกระทบ ความเสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน

เนื่องจากภัยพิบัติธรรมชาติ น้ำท่วม ดินถล่ม เป็นสิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถคาดการณ์กันล่วงหน้า และประกาศเตือนประชาชนให้อพยพ ป้องกันตนเองและทรัพย์ก่อนเกิดภัยพิบัติธรรมชาติดังกล่าว เพื่อลดความสูญเสียจากวิบัติภัยเหล่านี้ได้ให้น้อยที่สุด 1 ใน หลายหน่วยงานใกล้ชิดและมีหน้าที่โดยตรงต่อภารกิจนี้ ปฎิเสธไม่ได้ว่า ได้แก่ “ ศูนย์ภัยพิบัติ แห่งชาติ”ที่เปรียบเสมือนเป็นเรดาห์เตือนภัยให้กับประชาชน เมื่อเกิดภัยพิบัติต่างๆไม่ว่า สึนามิ แผ่นดินไหว ดินถล่ม น้ำท่วม เพราะถือเป็นหน่วยงานที่ก่อตั้งขึ้นมีภารกิจครอบคลุมเตือนภัยพิบัติธรรมชาติทุกประเภทๆให้กับประชาชน

“ประสิทธิภาพของศูนย์ภัยพิบัติแห่งชาติ ซึ่งก่อตั้งมา 6 ปี ด้วยงบประมาณนับพันล้านบาท มีความแม่นยำสูงมาก เพราะมีข้อมูลทุกภัยพิบัติธรรมชาติ วิเคราะห์จากทั่วประเทศและทั่วโลก แต่ข้อมูลที่ได้มา หากคนทำงานใช้ไม่เป็น เพราะไม่มีความรู้ ความสามารถก็ไม่เกิดประโยชน์ เพราะงานด้านภัยพิบัติธรรมชาติเรียนรู้ไม่มีวันหมดขนาดคนมีประสบการณ์คลุกคลีโดยตรงกว่า 50 ปียังรู้ไม่หมด นับประสาอะไรกับคนที่ไม่มีพื้นความรู้ ความเชี่ยวชาญโดยตรง” แหล่งข่าวจากผู้เชี่ยวชาญด้านภัยพิบัติบอกกับ “ผู้จัดการ 360 องศารายสัปดาห์”

นักการเมืองเอี่ยว ดึงพวกคุมงานเบื้องหลังการขาดประสิทธิภาพของศูนย์ภัยพิบัติครั้งนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ปัญหาสำคัญด้านหนึ่ง คือ ด้านบุคลากรที่ขาดความรู้และความสามารถ กลายเป็นจุดอ่อนทำให้การทำงานมีอุปสรรคปัญหา ไม่สามารถใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ข้อมูลได้เต็มประสิทธิภาพ ทั้งที่หน่วยงานดังกล่าว มีความสำคัญและมีบทบาทอย่างยิ่งในการบริหารจัดการภัยพิบัติให้กับภาคประชาชน เพราะได้ก่อตั้งขึ้น เพื่อเตือนภัยพิบัติต่างๆ ทั้งสึนามิ และน้ำท่วม เป็นต้น โดยจัดตั้งขึ้น หลังจากเกิดโศกนาฏกรรมภัยพิบัติสึนามิที่คร่าชีวิตคนไทยและชาวต่างชาติกว่า 5,396 คน บ้านเรือน การเกษตร การประมง ปศุสัตว์ ธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมเสียหายมูลค่านับประเมินไม่ได้ และมีการออกแบบ โครงสร้าง เครื่องมืออุปกรณ์ทันสมัย แม่นยำ และบุคลากรระดับผู้เชี่ยวชาญหลากหลายสาขา จนทำให้เป็นศูนย์ภัยพิบัติฯที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียเหนือกว่าสิงคโปร์และมาเลเซีย

“ ไม่เพียงระดับบริหาร ส่วนอื่นๆระดับกองงานต่างๆที่นักการเมืองดึงพรรคพวกของตัวเองเข้ามานั่งทำงานในศูนย์ฯ เพราะเห็นโอกาสและผลประโยชน์ โดยเฉพาะรายได้จากเงินเดือนของผู้บริหารระดับสูงเดือนละ 8 หมื่นบาทต่อเดือน ซึ่งเป็นอัตราการสูงกว่าอธิบดีกรมอีก โดยคนเหล่านี้กินเงินเดือนสูง แต่คุณสมบัติไม่เหมาะสมกับงาน เพราะพื้นฐานความรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ปริญญาตรี มาเป็นหัวหน้ากองงาน หรือ บางคนทักษะภาษาอังกฤษยังไม่แข็งแรง”

ผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการแทรกแซงของฝ่ายการเมือง ดึงเอาคนนอกขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญมาทำงาน จึงทำให้ขาดประสิทธิภาพ ในการบริหารจัดการระบบเตือนภัย โดยเฉพาะเมื่อเกิดวิกฤตน้ำท่วมแต่ละภาคของประเทศครั้งล่าสุด แหล่งข่าวบอกว่า แม้กรมอุตุนิยมวิทยาออกประกาศเตือนภัยพิบัติหลายครั้ง แต่หากศูนย์ภัยพิบัติไม่รับลูกบอกเตือนประชาชนให้ทราบล่วงหน้าว่าต้องปฏิบัติตัวอย่างไร เมื่ออยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย หน่วยงานป้องกันสาธารณภัยก็ไม่สามารถเข้ามาดูแลและช่วยอพยพคนได้ ขณะที่หน่วยงานอื่นๆที่ต้องบริหารจัดการน้ำ อย่าง กรมชลประทานก็ปล่อยน้ำไม่ตรงเวลา ทั้งที่น้ำท่วมก็ยังปล่อยน้ำออกมาอีก มันจึงเกิดน้ำท่วมใหญ่ในพื้นที่หลายจังหวัด

“ ยกตัวอย่างเช่น โคราช และหลายจังหวัดอื่นๆ ในภาคกลาง ภาคอีสาน และใต้ ซึ่งน้ำคงไม่ท่วมหนักขนาดนี้ หากศูนย์เตือนภัยพิบัติทำงานกับหน่วยงานอื่นอย่างมีบูรณาการ เพราะการจัดการภัยพิบัติเตือนภัยล่วงหน้าเหล่านี้ สามารถลดระดับการสูญเสียของภัยพิบัติได้ ที่สำคัญเครื่องมืออุปกรณ์ที่ติดตั้งช่วยเตือนภัยน้ำท่วม ปัจจุบันสามารถเชื่อมโยงให้ข้อมูลเตือนภัย ไปถึงผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ กำนัน แต่ก็ไม่มีการใช้งานหรือแจ้งเตือนภัยล่วงหน้าให้ประชาชนในพื้นที่รับรู้ก่อน จึงเกิดวิกฤตน้ำท่วมหนักอย่างที่เห็น ”

เขาให้คำแนะนำด้วยว่า สำหรับการสรรหาบุคลาการที่มีความรู้ ความสามารถประสบการณ์เหมาะสมสำหรับทำงานด้านนี้ ระดับบริหารควรใช้อดีตข้าราชการอธิบดีกรมอุตุนิยม กรมชลประทาน หรือ กรมทรัพยากรธรณี นักวิชาการด้านภัยพิบัติจากสถาบันการศึกษาต่างๆ หรือ นักวิทยาศาสตร์จากสถาบันต่างๆจากภาคเอกชนที่มีประสบการณ์เข้ามาทำงาน เพราะภารกิจงานภัยพิบัติต้องอาศัยประสบการณ์ ความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านจริงๆ มาศึกษา วิเคราะห์ติดตามอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าภัยพิบัตินั้นเกิดขึ้นผ่านพ้นไปแล้ว แต่ก็ต้องเตรียมตัวและพร้อมตลอด 24ชั่วโมง มันจึงจะเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทำงาน”

อย่างไรก็ตาม ปมปัญหาการโอนย้ายบุคลากรภายนอก ซึ่งเป็นคนของนักการเมืองและพรรคการเมืองร่วมรัฐบาลเข้ามาทำงานในหน่วยงานสำคัญแห่งนี้ แหล่งข่าวให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า ส่วนหนึ่งเพราะฝ่ายการเมืองของพรรครัฐบาลมองว่า หน่วยงานนี้ก่อตั้งและดูแลโดยคนของอดีตนายกรัฐมนตรี ทักษิณ ชินวัตร จึงไม่ค่อยไว้วางใจ มีการกดดันจนต้องลาออก และโยกย้ายไป จนกระทั่งปัจจุบันเหลือบุคลากรชุดเดิมอยู่เพียงไม่กี่คน จากจำนวนทีมงานทั้งหมดกว่า 200 คน

คอรัปชั่น - ล้มประมูล
อุปกรณ์เตือนภัย

นอกจากการเปลี่ยนตัวบุคลากรแล้ว ยังมีปัญหาทุจริตเชิงนโยบายของข้าราชการบางคนที่เกี่ยวข้องกับงานประมูลจัดซื้อจัดจ้างสมคบกันล้มประมูลหลายครั้ง ทำให้การจัดซื้ออุปกรณ์เตือนภัยพิบัติ โดยเฉพาะภัยสึนามิล่าช้า ทั้งที่ควรจะดำเนินการให้เสร็จตั้งแต่เมื่อ 5 ปีที่แล้ว เบื้องหลังเหตุล่าช้านั้น แหล่งข่าวคนเดิม บอกว่า เนื่องจากผู้ผลิตจำหน่ายอุปกรณ์เตือนภัย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นบริษัทจากต่างประเทศมีหลายรายๆเช่น อเมริกา ญี่ปุ่น เยอรมัน อิตาลี ได้พาแข่งกันแย่งตัวข้าราชการและผู้ติดตามไปดูงานที่โรงงานผลิตในต่างประเทศหลายครั้ง และวิ่งเต้นเข้าหา จนทำให้การประมูลไม่สามารถตัดสินเลือกผู้ชนะได้ ขณะที่ด้าน งบประมาณ สำหรับการซ้อมเตือนสึนามิกัน กลับมีการใช้จ่ายอย่างฟุ่มเฟือย บางกรณีใช้กันมากถึง 5-7 ล้าน เพื่อจัดอีเว้นต์คอนเสิร์ต แสดงนิทรรศการความรู้ภัยพิบัติ โดยมีจำนวนประชาชนในพื้นที่ให้ความสนใจกันไม่มากนักเท่าที่ควร

“ ยกตัวอย่าง โครงการจัดซื้อจัดจ้าง ติดตั้งทุ่นลอยน้ำลึก เพื่อเตือนภัยสึนามิ หรือ ถูกล้มประมูลกันมากหลายครั้ง โดยมีข้อพิรุธหลายอย่างว่า ไม่โปร่งใส่ เช่น การประกาศประชาพิจารณ์และประกวดราคาไม่ชอบย้อนหลัง 2 ครั้ง และทำประชาพิจารณ์ของผู้ร่วมประมูล เหลือเวลาเพียง 1 วัน จึงมีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ โดยขณะนี้เรื่องอยู่ที่สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน”

ทั้งนี้ เมื่อต้นปีที่ผ่านมา ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติได้จัดสรรงบฯ รวม 112 ล้านบาท ซึ่งถูกตัดออกประมาณ 10% จากที่เสนอขอไป โดยส่วนใหญ่จะเน้นการปรับปรุงศูนย์เตื่อนภัยที่มีอยู่ กำหนดแล้วเสร็จภายในปี 2553 โดยทุ่นดังกล่าวจะช่วยให้ศูนย์เตือนภัยฯทราบผลก่อนที่คลื่นจะกระทบฝั่ง 15 นาที ส่วนทุ่นเดิมที่ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา จะใช้งบฯในการปรับปรุง 48 ล้านบาท ขณะที่ในการฝึกซ้อมระบบเตือนภัยและอพยพหลบภัยสึนามิในแต่ละปีนั้น จะใช้งบฯ จำนวน 5 ล้านบาท ล่าสุดได้ทำการฝึกซ้อมเตือนภัยที่ 6 จังหวัดภาคใต้ และในวันที่ 4 พฤศจิกายนนี้ เตรียมฝึกซ้อมเตือนภัยการเกิดเหตุพายุเกย์ ที่จังหวัดชุมพร ด้วย

บริหารจัดการภัยพิบัติ นายกฯต้องคุมเอง นอกจากปัญหาบุคลากรแล้ว อีกอุปสรรคสำคัญอย่างหนึ่ง ในเชิงโครงสร้างสายบังคับบัญชา ซึ่งเดิมนั้นศูนย์ภัยพิบัติฯแห่งนี้จะต้องขึ้นตรงต่อสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อครั้งก่อตั้งและเปิดดำเนินการศูนย์ฯตั้งแต่ปี 2548 กำหนดให้มีผู้บริหารสูงสุดของประเทศ หรือ นายกรัฐมนตรี เป็นผู้รับรายงานโดยตรงและตัดสินใจสั่งการมายังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น ศูนย์ภัยพิบัติ กรมอุตุนิยม กรมชลประทาน แต่ปัจจุบันได้แยกมาขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีของกระทรวงไอที โดยตรง ทำให้การทำงานมีหลายลำดับชั้นและล่าช้า เมื่อเกิดภัยพิบัติแจ้งเตือนกว่าจะตัดสินใจดำเนินการต่อไปจึงไม่ทันการณ์

“ ในต่างประเทศ เรื่องภัยพิบัติ และหน่วยงานแบบศูนย์ภัยพิบัติ จะขึ้นตรงกับผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี หรือนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ดูแลโดยตรง เมื่อมีข้อมูลเกิดภัยพิบัติ น้ำท่วม ฝนตกหนัก นายกรัฐมนตรีจะได้รับข้อมูลก่อน ทั้งแนวทาง มาตรการ หรือแผนดำเนินการ และตัดสินใจดำเนินการล่วงหน้า เพื่อลดความสูญเสียภัยพิบัติได้ถั่วถึง ไม่ใช่ให้เป็นหน้าที่ของรัฐมนตรี ข้าราชการประจำทำงานหลายๆขั้นตอน ทำให้ล่าช้าไม่ทันสถานการณ์ที่เกิดภัยพิบัติ” แหล่งข่าวบอก

**************

กทม.สั่งปรับผังเมืองใหม่
ป้องกันน้ำท่วม-ฝ่าฝืนลงโทษรุนแรง

ฝนที่ตกหนักในช่วงประมาณ 2 เดือนที่ผ่านมา ประกอบกับ น้ำเหนือไหล่หลากสูงมากเป็นประวัติการณ์ จนเขื่อนต่างๆ ไม่สามารถรองรับได้ ทำให้กรมชลประทานต้องปล่อยน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ออกมา ที่สำคัญน้ำทะเลยังหนุนสูง ส่งผลให้พื้นที่เกือบทั่วประเทศต้องประสบกับภาวะน้ำท่วมขังเป็นเวลานาน ซึ่งบางแห่งท่วมขังนานเป็นเดือน

ขณะที่บางแห่งสามารถระบายน้ำได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร(กทม.) ซึ่งแม้ว่าจะประสบกับภาวะน้ำท่วมขังบ้าง แต่ก็สามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ได้อย่างรวดเร็ว นั่นเป็นเพราะว่า การบริหารจัดน้ำได้ดี ตามแนวทางโครงการพระราชดำริ

ทั้งนี้ ตั้งแต่ที่ผ่านมาจวบจนปัจจุบัน การแก้ปัญหาน้ำท่วมจะใช้แนวทางการบริหารจัดการด้านน้ำท่วมล้น (Flood Management) โดยใหัมีการก่อสร้างคันกั้นน้ำขนาดที่เหมาะสมขนานไปตามลำน้ำห่างจากขอบตลิ่งพอสมควร เพื่อป้องกันมิให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมในพื้นที่ ต่าง ๆ ด้านใน รวมถึงการปรับปรุงและตกแต่งสภาพลำน้ำ เพื่อให้น้ำที่ท่วมทะลักสามารถไหลไปตามลำน้ำได้สะดวก หรือช่วยให้กระแสน้ำไหลเร็วยิ่งขึ้น เพื่อบรรเทาความเสียหายจากน้ำท่วมขัง โดยใช้วิธีการให้ขุดลอกลำน้ำตื้นเขินให้น้ำไหลสะดวกขึ้น ตกแต่งดินตามลาดตลิ่งให้เรียบไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อทางเดินของน้ำ กำจัดวัชพืช และรื้อทำลายสิ่งกีดขวางทางน้ำไหลให้ออกไปจนหมดสิ้น ขุดคลองใหม่ในกรณีลำน้ำคดโค้งมาก

นอกจากนี้ ยังมีการก่อสร้างเขื่อนเก็บกักน้ำ ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันน้ำท่วมที่สำคัญมากในการกักเก็บน้ำที่ไหลท่วมล้นในฤดูน้ำหลาก โดยปัจจุบันมีการป้องกันน้ำท่วมใหญ่นั้น ขณะนี้มีการดำเนินการหลายจุด อาทิ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำป่าสัก โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง และโครงการพัฒนาลุ่มน้ำนครนายกตอนบน จ.นครนายก ซึ่งนอกจากจะช่วยไม่ให้น้ำท่วมในพื้นที่แล้ว ยังช่วยป้องกันไม่ให้น้ำทะลักเข้าสู่กรุงเทพฯด้วย

จัดระบบบริหารจัดการน้ำ

สำหรับการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จัดให้มีระบบการบริหารจัดการน้ำ โดยจัดทำโครงการ “แก้มลิง” ชักน้ำให้รวมกันแล้วเก็บไว้ในจุดพักน้ำอันเปรียบได้กับแก้มลิง แล้วจึงระบายน้ำลงทะเลเมื่อปริมาณน้ำทะเลลดลง นั่นหมายถึงว่าจะสามารถระบายน้ำออกจากพื้นที่ตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใต้ ลงคลองพักน้ำขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล ซึ่งทำหน้าที่เป็นบ่อเก็บน้ำขนาดใหญ่ และเมื่อระดับน้ำทะเลลดต่ำลงกว่าระดับน้ำในคลองก็ทำการระบายน้ำจากคลอง ออกทางประตูระบายน้ำ รวมทั้งให้สูบน้ำออกจากคลองที่ทำหน้าที่แก้มลิงให้ระบายออกในระดับต่ำที่สุดออกสู่ทะเล เพื่อจะได้ทำให้น้ำตอนบนค่อย ๆ ไหลมาเองตลอดเวลา ส่งผลให้ปริมาณน้ำท่วมพื้นที่ลดลง และเมื่อระดับน้ำทะเลสูงกว่าระดับน้ำในลำคลอง ก็ทำการปิดประตูระบายน้ำเพื่อป้องกันมิให้น้ำย้อนกลับ โดยยึดหลักน้ำไหลทางเดียว

สำหรับแนวทางป้องกันน้ำท่วมของกรุงเทพมหานคร(กทม.)ฯนั้น พรเทพ เตชะไพบูลย์ รองผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร กล่าวว่า กทม.อยู่ระหว่างจัดวางผังเมืองใหม่ โดยผังเมืองใหม่จะต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหม่ทั้งหมด ซึ่งจะมีแหล่งรับน้ำ จะมีควบคุมการเจริญเติบโตของเมือง ที่สำคัญผังเมืองใหม่จะช่วยเรื่องลดภาวะโลกร้อน ป้องกันปัญหาน้ำท่วมขัง และจะไม่อนุญาตให้สร้างสิ่งปลูกสร้างแล้วปิดกั้นทางน้ำไหล หากใครฝ่าฝืนและปลูกสร้างขวางเส้นทางน้ำไหลจะมีบทลงโทษอย่างรุนแรง ซึ่งคาดว่าจะประกาศและมีผลบังคับใช้ในเดือนพฤษภาคมปีหน้า

ขณะเดียวกัน ยังมีแนวคิดที่จะนำการแก้ปัญหาน้ำท่วมของประเทศฮอลแลนด์มาใช้ในกรุงเทพฯ ซึ่งการจัดการกับปัญหาระดับน้ำทะเลในฮอลแลนด์เป็นสิ่งที่น่าสนใจมาก เพราะฮอลแลนด์เป็นประเทศที่อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล แต่น้ำไม่ท่วมจนทำให้ประชาชนเดือดร้อน ซึ่งในฮอลแลนด์ได้สร้างเขื่อนขนาดใหญ่ขึ้นมากั้นน้ำ

โดยรองผู้ว่าฯมีแนวคิดที่จะสร้างเขื่อนยักษ์แนวปากน้ำ ตั้งแต่บางขุนเทียน ปากน้ำ ไปจรดสมุทรปราการ มีความยาวประมาณ 30 กิโลเมตร คาดว่าจะใช้งบประมาณหลายหมื่นล้านบาท โดยรัฐจะเป็นผู้ลงทุน

ด้านม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า กรุงเทพมหานครได้วางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาน้ำท่วมไว้ 2 มาตรการ คือ การป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำ ซึ่งการป้องกันน้ำท่วมจะเป็นการก่อสร้างระบบพื้นที่ปิดล้อม โดยก่อสร้างคันกั้นน้ำ ประตูระบายน้ำ เพื่อป้องกันน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยาและน้ำหลากจากด้านเหนือ และด้านตะวันออกไหลเข้าท่วมพื้นที่ลุ่มต่ำ

ส่วนการระบายน้ำเป็นการก่อสร้างสถานีสูบน้ำ ประตูระบายน้ำ ท่อระบายน้ำ สร้างเขื่อนคอนกรีตเสริมเหล็กริมคลอง ขุดลอกคลองระบายน้ำ ติดตั้งเครื่องผลักดันน้ำ ก่อสร้างทางรับน้ำ และก่อสร้างเขื่อนกั้นน้ำบริเวณตลิ่ง และจัดหาบ่อรองรับและเก็บกักน้ำฝนชั่งคราว เพื่อการระบายน้ำท่วมขังจากพื้นที่ปิดล้อม

การดำเนินการป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำ แบ่งเป็น 2 พื้นที่ ได้แก่ ฝั่งพระนคร และฝั่งธนบุรี โดยพื้นที่ฝั่งพระนคร มีพื้นที่ปิดล้อมประมาณ 600 ตารางกิโลเมตร โดยมีพื้นที่จากริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาไปจรดแนวคันกั้นน้ำด้านตะวันออก

ขณะเดียวกัน ยังได้ประสานกับทางกรมชลประทานอย่างใกล้ชิด เพื่อปล่อยน้ำจากเขื่อนอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อลดโอกาสในการเกิดน้ำท่วมให้ได้มากที่สุด ซึ่งจุดนี้เป็นจุดสำคัญที่จะช่วยป้องกันเพราะน้ำที่ไหลลงมามีปริมาณมาก
ตั้งเป้ากักน้ำ 13 ล้านลบ.ม.

ขณะที่สำนักการระบายน้ำได้ดำเนินการจัดหาพื้นที่รองรับและเก็บกักน้ำเพื่อป้องกันน้ำท่วม (แก้มลิง) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการระบายน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เก็บกักน้ำฝนชั่งคราวก่อนระบายลง ระบบระบายน้ำสาธารณะ ซึ่งในชั้นแรกจะทำการจัดหาพื้นที่ฝั่งพระนคร โดยมีเป้าหมายในการจัดหาพื้นที่เก็บกักน้ำปริมาตร 13 ล้านลูกบาศก์เมตร ปัจจุบันสำนักการะบายน้ำได้จัดหาพื้นที่แก้มลิงได้จำนวน 20 แห่ง และมีความสามารถในการเก็บกักน้ำได้ 10,062,525 ลบ.ม.

ส่วนในพื้นที่ทางด้านฝั่งธนบุรีจะมีคลองเป็นจำนวนมาก โดยคลองส่วนใหญ่ เห็นคลองตามแนวตะวันออกตะวันตก ซึ่งระบายน้ำออกทางด้านแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ในช่วงฤดูน้ำหลากจากทางเหนือน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาจะมีระดับสูงขึ้นจึงควรใช้คลองหลักที่มีอยู่นั้นเป็นแก้มลิง โดยทำการสร้างสถานีสูบน้ำและประตูระบายน้ำเพิ่มเติม เพื่อช่วยในการเก็บกักและระบายน้ำออกสู่ทะเล การป้องกันและการบรรเทาอุทกภัย โดยแบ่งพื้นที่ระบายน้ำออกดังนี้

1. ใช้คลองพระองค์ไชยานุชิตเป็นคลองระบายน้ำหลักรับน้ำจาก คลองแสนแสบ คลองนครเนื่องเขต คลองประเวศน์บุรีรมย์ และคลองสำโรง

2. ก่อสร้างคันกั้นน้ำคลองพระองค์ไชยานุชิตทั้งสองฝั่งและขยายขนาดคลอง เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำไหลพื้นที่ที่ต้องการเร่งสูบระบายน้ำออก

3. ก่อสร้างคันกั้นน้ำคลองลำปลาทิว และคลองจระเข้ใหญ่ฝั่งซ้าย เพื่อเป็นการแบ่งพื้นที่ระบายน้ำไม่ให้ไหลบ่าลงสู่คลองลำปลาทิวและคลองจระเข้ใหญ่ในขณะที่คลองรับน้ำได้สูงสุดแล้วจะทำให้ไหลข้ามคลองไปท่วมพื้นที่อีกด้านหนึ่ง

4. ก่อสร้างสถานีสูบน้ำที่จุดตัด คลองนครเนื่องเขต คลองประเวศน์บุรีรมย์ คลองสำโรง กับคลองพระองค์ไชยานุชิต เพื่อเร่งสูบน้ำลงคลองพระองค์ไชยานุชิต

5. ก่อสร้างอาคารบังคับน้ำในคลองที่ตัดผ่านคลองพระองค์ไชยานุชิต คลองด่าน คลองลำปลาทิว และคลองจระเข้ใหญ่

************

ฟันธงไทยจะไม่สงบสุขเหมือนอดีต
โลกแปรปรวนหนัก ภัยพิบัติจ่อถล่มไทยถี่ขึ้น

นักวิชาการเผย สภาวะแวดล้อมโลกเข้าสู่วิกฤต รอบการเกิด “เอลนีโญ-ลานีญา” กระชั้นชิด ประเทศไทยจะไม่มีทางสงบสุขเหมือนเก่า ภัยธรรมชาติจะเข้ามาถล่มถี่ขึ้น แนะรัฐบูรณาการทุกหน่วยงาน ซื้อที่ดินเกษตรกรทำแก้มลิง เช่าที่นารับน้ำหลาก ระบุ 5 ปีข้างหน้าไทยจะค่อยๆ ปรับตัวเข้าสู่ภาวะเอลนีโญ เกิดภัยแล้งทั่วประเทศ ซ้ำด้วยภัยพายุรุนแรง จากนั้น 5 ปีหลังจะเข้าสู่ภาวะลานีญา เกิดอุทกภัยหนักกว่าปี 53 ขณะที่แหล่งข่าววงในชี้ชัด ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติเดี้ยง ผู้เชี่ยวชาญถูกบีบออก กลายเป็นแหล่งหาประโยชน์ของบุคคลบางกลุ่ม

ระบุ ‘เอลนีโญ-ลานีญา’
ถล่มไทยหัวปีท้ายปี

ศ.ดร.ธนวัฒน์ จารุพงษ์สกุล หน่วยศึกษาพิบัติภัยและข้อสนเทศเชิงพื้นที่ ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า พิบัติภัยจะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ 1.เกี่ยวกับน้ำ จะมีภัยแล้ง น้ำท่วม แผ่นดินถล่ม ไฟป่า 2.พิบัติภัยที่เกี่ยวข้องทางทะเล เช่น พายุไต้ฝุ่น การกัดเซาะชายฝั่ง สึนามิ และ 3.ตัวที่เกิดภายในโลกมีแผ่นดินไหวเป็นหลัก โดยทั้ง 3 กลุ่มนี้ประเทศไทยจะพบแต่พิบัติภัยเรื่องน้ำมากที่สุดซึ่งรวมไปถึงภัยแล้ง น้ำท่วม แต่ที่ผ่านมาไทยก็ปรับตัวเขากับสถานการณ์ได้ดี แต่ในช่วงหลังๆ กลุ่มพายุเริ่มเข้ามามากขึ้น เช่น พายุโซนร้อนแฮเรียดเข้าที่ตะลุมพุก ปี 2505 มีคนตายเกือบ 1 หมื่นคน ปี 31 ไต้ฝุ่นเกย์ ปี 41 ไต้ฝุ่นลินดา มีบ้างประปราย แต่ก็ยังไม่เป็นที่คุ้นเคยของคนไทย

ส่วนเรื่องสภาวะฝนของไทยว่าจะเกิดน้ำท่วมหรือภัยแล้ง จะเกี่ยวพันกับลมมรสุม 2 ตัว คือ 1.มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กับ 2.มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งลมมรสุมนี้จะไปเกี่ยวพันกับกลไกของโลกที่มีการปรับตัวในแต่ละปี เกิดเป็น เอลนีโญ หรือเป็นปีที่ที่น้ำน้อยเกิดภัยแล้ง หรือเกิดเป็น ลานีญา ซึ่งเป็นปีที่น้ำเยอะก่อให้เกิดน้ำท่วม โดยทั้ง 2 ตัวนี้จะเป็นตัวควบคุมว่าปีไหนจะน้ำมากน้ำน้อยทั่วโลก

อย่างไรก็ตาม วงรอบของการเกิด เอลนีโญ กับลานีญา จะมีวงรอบของการเกิด โดย เอลนีโญ จะเกิดขึ้นทุกๆ 3 ปีต่อ 1 ครั้ง ส่วน ลานีญา จะเกิดทุก 4.6 ปีต่อ 1 ครั้ง นอกจากนั้นเป็นปีที่ฤดูกาลปรกติ แต่ทั้งนี้น่าสังเกตว่าในช่วง 8 ปีตั้งแต่ ปี 2545 จนถึงปัจจุบัน พบว่ารูปแบบวงรอบเริ่มเปลี่ยนไป เอลนีโญ เกิดถี่ขึ้น จากเดิม 3 ปีต่อ 1 ครั้ง มาเป็น 1.6 ปีต่อ 1 ครั้ง ส่วน ลานีญา ก็เกิดเร็วขึ้น จากทุกๆ 4.6 มาเป็น 2.6 ปีต่อ 1 ครั้ง ส่วนในปีนี้เกิด เอลนีโญหัวปี เกิด ลานีญา ท้ายปีเลย และมีแนวโน้มที่จะขยับระยะเวลาสั้นขึ้นเรื่อยๆ

คาดปี 52 ภัยแล้งมาเยือน

ทั้งนี้ ในปี 2552 เกิดภาวะ เอลนีโญ ทำให้อากาศร้อนที่สุด เริ่มตั้งแต่เดือน พ.ค. เริ่มเข้าต้นของช่วง เอลนีโญ และขึ้นไปรุนแรงที่สุดในเดือน มิ.ย. ไล่มาถึงเดือน ก.ค. ปีนี้ ทำให้เกิดภาวะแล้งมากที่สุด แม่น้ำโขงแห้ง ล้งลงเป็นประวัติการณ์ จากนั้นก็เกิดภาวะลานีญาเลย จากปรกติต้องใช้เวลาพอสมควร ซึ่งไทยก็ได้รับผลกระทบจากลานีญารุนแรงมากด้วย ทำให้ในปีนี้ไทยโดนทั้งภัยแล้งในช่วงต้นปี และช่วงปลายปีก็ถูกกระหน่ำด้วยอุทกภัยสุดรุนแรงทั้ง 2 ด้านภายในปีเดียว ซึ่งสิ่งนี้เป็นสิ่งที่นักวิชาการสนใจมาก เพราะที่ผ่านมาในรอบ 60 ปีไม่เคยเกิดเหตุเช่นนี้เลย จึงเกิดคำถามที่ต้องขบคิดว่าทำไมน้ำจึงท่วมมากได้

โดยภาวะน้ำท่วมในอดีต ส่วนใหญ่แล้วปีไหนน้ำท่วมภาคกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือหรือภาคเหนือ ภาคใต้น้ำจะไม่ท่วม แต่ปีนี้ไม่ถึงเดือนท่วมตั้งแต่ภาคกลาง ไล่มาอีสาน ไปภาคใต้ถึงมาเลเซีย ซึ่งทางวิชาการเรียกว่าสภาวะอากาศแปรปรวนแบบผกผัน และที่ผ่านมาเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ในปี 2526, 2538, 2549, 2553 ก็เกิดจากต้นปีเป็นเอลนีโญ และปลายปีเป็นลานีญาเหมือนกันแบบเดียวกันทั้งหมด สรุปได้ว่าในปีนี้เดือน ม.ค.-ก.ค. ฝนทิ้งช่วงยาวเข้าหน้าฝนแล้วฝนกลับไม่ตกลงมา เขื่อนก็เลยไม่มีน้ำ ทำให้ช่วงปลายปีฝนมามาก เขื่อนต่างๆ จึงรีบเร่งกักเก็บน้ำฝนและเพิ่งมาเต็มเมื่อ 2 อาทิตย์ที่ผ่านมา ตามปรกติฝนต้องมาเดือน พ.ค. ทำให้เขื่อนต้องระบายน้ำออกมามาก ไม่สามารถเก็บกักน้ำบรรเทาอุทกภัยได้ รวมทั้งยังมีพายุไต้ฝุ่นเติมเข้ามาด้วย เหมือนกับปี 2526 เกิดไต้ฝุ่นคิมเข้ามา ปี 2538 มีไต้ฝุ่นเติมน้ำเข้ามาถึง 3 ลูก

โลกร้อนเกิดซูเปอร์พายุทะเลจีนใต้มากขึ้น

ทั้งนี้ ในอนาคตถ้าพ้นกลางเดือน ธ.ค.ไปแล้วไม่เกิดพายุลูกใหม่ ก็จะถือว่าพ้นภัยพิบัติน้ำท่วมไปได้ จากนั้นคาดว่า ภาวะลานีญา จะลดลงต่ำสุดในเดือนหน้า แล้วจะผงกหัวขึ้นพ้นช่วงลานีญาในช่วงเดือน ก.พ.- มี.ค.54 จากนั้นในภาวะปรกติ โอกาสที่จะเปลี่ยนเทรนด์หลังเดือน มี.ค. จะเป็นปีที่เกิด เอลนีโญ ขาดน้ำเกิดภัยแล้งได้ 25% แต่ 50% จะเป็นปีปรกติ แต่เผอิญช่วงนี้มีภูเขาไฟระเบิดที่อินโดนีเซียยาวนานมาเป็นเดือน จะทำให้ปรากฏการณ์ลานีญา ที่เกิดขึ้นในเอเชียใต้รุนแรงมากขึ้น เถ้าถ่านภูเขาไฟจะทำให้ฝนตกหนัก เพราะนิวเคลียสเถ้าถ่าน ก่อให้เกิดฝนตกและมีก๊าซเรือนกระจกในระยะยาว จะทำให้เอเชียใต้ร้อนมากขึ้น จึงทำให้สัดส่วนที่คาดว่าจะเกิดเอลนีโญ 25% เพิ่มเป็น 50% และอาจจะเป็นปีที่อากาศปรกติอีก 50% จึงคาดว่าในช่วง 6 เดือนแรกของปีหน้าคงจะไม่เกิดเหตุการณ์ ลานีญาที่ทำให้เกิดน้ำท่วม ส่วน 6 เดือนหลังจะต้องรอดูสถิติอีกครั้งหนึ่ง เพราะแบบจำลองที่มีอยู่พยากรณ์ได้เพียง 6 เดือน

นอกจากนี้ภาวะโลกร้อนไม่เพียงรอบการเกิดเอลนีโญ และลานีญา จะเกิดถี่มากขึ้น พายุในทะเลจีนใต้ก็มีกำลังแรงมากขึ้น ซึ่งเฉลี่ยแล้วในแต่ละปีทะเลจีนใต้จะเกิดพายุประมาณ 20-30 ลูก ต่ำสุด 21 ลูก สูงสุด 36 ลูก แต่ 10 ปีหลังมีกำลังแรงมากขึ้นจนเป็นซูเปอร์พายุ จากอดีตนานๆ ครั้งจะเกิดขึ้นซัก 1-2 ลูก แต่ช่วงหลังนี้เกิดปีละ 4-5 ลูก เห็นได้จากปีก่อน ฟิลิปปินส์ถูกซูเปอร์พายุถล่ม 6-7 ลูก

ดังนั้น จากสภาวะอากาศที่แปรปรวน ทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องบริหารจัดการทำได้ลำบากมากขึ้น เห็นได้จากปีนี้เกิดเอลนีโญ และลานีญาหัวปีท้ายปี จึงทำให้คาดการณ์ได้ว่าในอนาคตประเทศไทยจะไม่สามารถอยู่อย่างปรกติสุขเหมือนในอดีตอีกต่อไป ภัยพิบัติต่างๆ จะมีความรุนแรง และบ่อยครั้งมากขึ้น ห่วงโซ่อาหารทั้งบนดินและในทะเลจะได้รับผลกระทบ รวมทั้งจะเกิดแผ่นดินถล่มถี่ขึ้น นับตั้งแต่ปี 2531 ดินถล่มทุกปี เพิ่มมากขึ้นถึง 10 เท่าตัว โลกยิ่งร้อนขึ้น ปัญหาน้ำท่วมยิ่งจะมีความรุนแรงกระทบต่อพืชพันธุ์ธัญญาหารทุกประเทศ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่สามารถใช้ข้อมูลในอดีตมาบริหารจัดการทรัพยากรในปัจจุบันได้ เพราะสถิติในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงเร็วกว่าในอดีตมาก

เตือนรัฐเตรียมรับมือ
น้ำท่วมใหญ่ในปี 59-63

ขณะที่ รศ.ดร.เสรี ศุภราทิตย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านภัยพิบัติแห่งมหาวิทยาลัยรังสิต มีความเห็นว่า ในปีหน้าสภาวะอากาศของไทยจะเข้าสู่ภาวะลานีญาแบบอ่อนๆ เบากว่าปีนี้ มีน้ำท่าดี เพราะโดยปรกติแล้วหลังจากเกิดลานีญาในช่วงปลายปีแล้ว จะกลับไปเป็นเอลนีโญทันทีได้ยาก เพราะยังมีความชื้นที่เกิดจากลานีญาอยู่สูง จะมีเวลาพัก 1-2 ปีก่อนจะเกิดเหตุเอลนีโญขึ้นอีกครั้ง ดังนั้น ในการพยากรณ์เบื้องต้นในช่วง 5 ปีแรกต่อจากนี้ ประเทศไทยจะค่อยๆ เข้าสู่ภาวะเอลนีโญ เกิดภัยแล้งในหลายพื้นที่ แต่ก็จะมีพายุในภูมิภาคนี้รุนแรงขึ้นมากกว่าช่วงลานีญา และอาจจะมีบางส่วนส่งผลกระทบกับประเทศไทย แต่จะเกิดน้ำท่วมเฉพาะพื้นที่ผ่าน ไม่ท่วมเป็นบริเวณกว้างแบบในปีนี้ และหลังจากนั้น 5 ปีหลัง ตั้งแต่ปี 2559-2563 จะเข้าสู่ลานีญาอย่างรุนแรง และจะเกิดภาวะน้ำท่วมมากกว่าในปี 2553

ดังนั้น รัฐบาลจะต้องบูรณาการการทำงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการเตรียมก่อสร้างพื้นที่แก้มลิงรองรับน้ำ การซื้อที่ดินคืนจากประชาชนเพื่อเก็บน้ำ รวมทั้งการเช่าที่ดินเกษตรกรบางส่วนประมาณ 6 เดือนเพื่อรองรับน้ำ

ศูนย์เตือนภัยฯ
เดี้ยงรุมกินเละ

ขณะที่แหล่งข่าวกล่าวว่า สาเหตุที่การบริหารจัดการน้ำในปีนี้ล้มเหลว ก็เนื่องจากศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติขาดบุคลากรผู้เชี่ยวชาญเข้ามาดูแล เพราะผู้เชี่ยวชาญบางส่วนยอมรับกับระบบในหน่วยงานนี้ไม่ได้ ถูกบีบออกไปเป็นจำนวนมาก ทำให้บุคลากรในศูนย์นี้ที่ส่วนใหญ่จะเป็นทหารเรือ และกลุ่มทหารก็มีการทะเลาะเบาะแว้งกันจนลาออกแล้วหลายชุด ทำให้ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ข้อมูล ทำให้เครื่องมือราคาแพง ไม่สามารถใช้งานได้อย่างเต็มที่ ทำให้ศูนย์ฯ แห่งนี้เป็นแหล่งหาผลประโยชน์ของหลายฝ่าย

ล่าสุดทุ่นที่ใช้ตรวจวัดสึนามิก็เสีย กำลังของบสูงกว่า 20 ล้านซ่อมแซม ทำให้ปัจจุบันไทยไม่มีอุปกรณ์เตือนภัยสึนามิเลย ซึ่งสาเหตุที่เสียเพราะอุปกรณ์ตัวนี้ละเอียดอ่อนมาก ถูกเรือประมงเฉี่ยวชนก็เสียหายได้ง่าย และทั่วโลกก็ไม่ใช้กันแล้ว ดังนั้น นายกรัฐมนตรีจึงควรเข้ามาดูแลศูนย์ฯ แห่งนี้อย่างจริงจัง อย่าเพียงแต่ฟังรายงานจากบุคคลอื่น และเร่งสางปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

บทความที่ได้รับความนิยม

Blog Archive
ขับเคลื่อนโดย Blogger.